เมนู

[607] 4. อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
1. หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.
[608] 5. อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
1. หทยวัตถุที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่อกุศลขันธ์ ด้วยอำนาจ
ของวิปปยุตตปัจจัย.

21. อัตถิปัจจัย


[609] 1. กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นกุศล เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,
ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[610] 2. กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
1. กุศลขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
1. กุศลขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[611] 3. กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมและอัพยากตธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นกุศล เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และจิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 2 เป็นปัจจัย แก่ขันธ์ 2 และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[612] 4. อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,
ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[613] 5. อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ และ ปัจจาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
1. อกุศลขันธ์ที่เกิดพร้อมกัน เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป
ด้วยอำนาจของอัตถปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
1. อกุศลขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
[614] 6. อกุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมและอัพยากต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ ขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศล เป็นปัจจัยแกขันธ์ 3 และจิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และ
จิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[615] 7. อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากตธรรม ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 5 อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัฉาชาตะ
อาหาระ
และ อินทริยะ.
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
1. ขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยาที่เกิดพร้อมกัน
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,

ขันธ์ เป็นปัจจัยขันธ์ 1 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย, ขันธ์ 2 เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย
2. ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ 1 ที่เป็นอัพยากตวิบาก เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ 3 และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 1 และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 2 เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 2 และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ทั้งหลาย
เป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, หทยวัตถุ เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
3. มหาภูตรูป 1 เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป 3 ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย, มหาภูตรูป 3 เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป 1 ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย, มหาภูตรูป 2 เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป 2 ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย, มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่อุปาทารูป ที่เป็นจิตตสมุฏฐาน-
รูป และกฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ.
4. สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป 1 เป็นปัจจัยแก่มหาภูต-
รูป 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, มหภูตรูป 3 เป็นปัจจัยแก่มหาภูต-
รูป 1 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, มหาภูตรูป 2 เป็นปัจจัยแก่มหาภูต-
รูป 2 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, มหาภูตรูปทั้งหลาย เป็นปัจจัยแก่
อุปาทารูป ที่เป็นจิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถ-
ปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่

1. พระอรหันต์พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็น
ทุกข์ เป็นอนัตตา.
2. พระอรหันต์พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์
เป็นอนัตตา.
3. พระอรหันต์ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.
4. พระอรหันต์ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
5. รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย, สัททายตนะ ฯลฯ คันธายตนะ ฯ ลฯ รสายตนะ ฯลฯ โผฏ-
ฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
6. จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
7. โสตายตนะ เป็นปัจจัยแก่โสตวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
8. ฆานายตนะ เป็นปัจจัยแก่ฆานวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
9. ชิวหายตนะ เป็นปัจจัยแก่ชิวหาวิญญาณ ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
10. กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของอัตถิ-
ปัจจัย.
11. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นอัพยากตวิบาก
และอัตยากตกิริยา ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบาก และอัพยากตกิริยาที่เกิดภายหลัง
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่
กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย .
ที่เป็น อินทริยะ ได้แก่
รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[616] 8. อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่
1. พระเสขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นจักษุ โดยความเป็นของ
ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
2. พระเสขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง
เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา.
3. พระเสขะหรือปุถุชน เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ.
4. พระเสขะหรือปุถุชน ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
5. หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ทั้งหลาย ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย.
[617] 9. อัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรม ด้วยอำนาจ
ของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
1. บุคคลยินดีเพลิดเพลินซึ่งจักษุ เพราะปรารภซึ่งจักษุนั้น ราคะ
ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
2. บุคคลยินดีเพลิดเพลินโสตะ ฆานะ ชิวหา กายะ รูป เสียง
กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ เพราะปรารภโสตะเป็นต้นนั้น ราคะ
ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่อกุศลขันธ์ทั้งหลาย
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[618] 10. กุศลธรรมและอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตปุเรชาตะ1 ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นกุศลที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ 2 และหทยวัตถุ เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[619 ] 11. กุศลธรรมและอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพยากต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 3 อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตาหาระ2 ปัจฉาชา-
ตินทริยะ
3
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
1. สหชาตปุเรชาตะ หมายถึงที่เป็นสหชาตะรวมกับปุเรชาตะ (มิสสกะ). 2. หมายถึงปัจฉา-
ชาตะรวมกับอาหาร. 3.หมายถึงปัจฉาชาตะรวมกับอินทริยะ.

กุศลขันธ์ที่เกิดพร้อมกันและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-
รูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
ที่เป็น ปัจฉาชาตาหาระ ได้แก่
กุศลขันธ์ที่เกิดภายหลังและกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตินทริยะ ได้แก่
กุศลขันธ์ที่เกิดภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[620] 12. อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อกุศล-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มีอย่างเดียว คือ ที่เป็น สหชาตปุเรชาตะ ได้แก่
ขันธ์ 1 ที่เป็นอกุศลที่เกิดพร้อมกัน และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 3 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์ 3 และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 1 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย, ขันธ์2 และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ 2 ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
[621] 13. อกุศลธรรมและอัพยากตธรรม เป็นปัจจัยแก่อัพ-
ยากตธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี 3 อย่าง คือ ที่เป็น สหชาตะ ปัจฉาชาตาหาระ และ ปัจฉาชา-
ตินทริยะ

ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
อกุศลขันธ์ที่เกิดพร้อมกันและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ-
ฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตาหาระ ได้แก่
อกุศลขันธ์ที่เกิดภายหลังและกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตินทริยะ ได้แก่
อกุศลขันธ์ที่เกิดภายหลังและรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป
ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

22.นัตถิปัจจัย


[622] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจของนัตถิ-
ปัจจัย

คือ กุศลขันธ์ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์ที่เกิดหลังๆ
ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย ฯ ล ฯ.
พึงให้พิสดารเหมือนอย่างอนันตรปัจจัย.

23. วิคตปัจจัย


[623] กุศลธรรม เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรม ด้วยอำนาจของวิคต-
ปัจจัย